Mind Mapping
คำถามหลัก (Big
Questions) : การเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่างๆ
บนโลก ส่งผลต่อการดำรงชีวิตของเราอย่างไร?
ภูมิหลังของปัญหา :
กระแสโลกาภิวัตน์ และการเปลี่ยนแปลงของโลกเป็นไปอย่างรวดเร็ว มนุษย์ต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงที่หลากหลาย วิวัฒนาการสมัยใหม่และความเจริญก้าวหน้าเข้ามาสู่สังคมของมนุษย์อย่างรวดเร็ว ตลอดจนความเจริญก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์ทำให้มนุษย์เข้าใจเหตุการณ์ของสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกในปัจจุบัน ทั้งด้านความสะดวกสบายในการดำเนินชีวิต อาทิเช่น เครื่องทุนแรงที่ช่วยในการประกอบอาชีพ และการคมนาคมต่างๆ อีกนัยหนึ่งอาจกล่าวถึงผลกระทบที่ตามมาจากความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อาทิ ปัญหาเทคโนโลยีที่สะดวกรวดเร็ว แต่กลับทำให้มนุษย์ขาดทักษะหลาย ด้าน เช่น การอยู่ร่วมกัน การสื่อสาร การจัดการความรู้ และทักษะการดำเนินชีวิต
ดังนั้นนักเรียนจึงควรเรียนรู้ การเปลี่ยนแปลง วิวัฒนาการของสิ่งต่างๆ เพื่อให้เข้าใจสิ่งที่เราพบเห็นในโลกปัจจุบัน ซึ่งมีความแตกต่างจากเดิมในอดีต และแน่นอนว่าจะสามารถวิเคราะห์แนวโน้มเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้
เป้าหมายของความเข้าใจ (Understanding Goal) :
1. เพื่อศึกษาความหลากหลายของการกำเนิด และกระบวนการในการปรับตัวของสิ่งต่างๆ
รอบตัว คาดการณ์และเห็นแนวโน้มของสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้อย่างมีเหตุผล
2. เข้าใจและเห็นคุณค่าความสัมพันธ์ความหลายหลายของสิ่งต่างๆ และตัวเอง เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างมีเป้าหมายและมีคุณค่า
2. เข้าใจและเห็นคุณค่าความสัมพันธ์ความหลายหลายของสิ่งต่างๆ และตัวเอง เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างมีเป้าหมายและมีคุณค่า
ตารางความสัมพันธ์ Core Subject
หน่วย : Happening before us
ก่อนจะเป็นเรา
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 Quarter 4 ภาคเรียนที่ 2/2559
สุขภาพ
|
เศรษฐศาสตร์และการประกอบการ
|
สิ่งแวดล้อม
|
หน้าที่พลเมือง
|
-
วิวัฒนาการด้านการแพทย์ทำให้คนมีอายุยืนขึ้น
-
มนุษย์เรียนรู้จักการดูแลสุขภาพจากคนในสมัยก่อน
-
สิ่งมีชีวิตล้วนพัฒนาตนเองให้อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงได้
-
การเปลี่ยนแปลงของโลกมีผลต่ออายุของสิ่งมีชีวิต
-
อาหารสำเร็จรูป วิตามิน ยา ถูกผลิตขึ้นมา เพื่อดูแลสุขภาพให้ดีขึ้น
-
วิตามิน ยา อาหารเสริมบางอย่างร่างกายไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้
-
สารเคมีต่างๆ ส่งผลต่อสุขภาพ
|
- มนุษย์ใช้ความรู้ทางด้านวิวัฒนาการเป็นอาชีพหนึ่ง
- เราเรียนรู้เศรษฐศาสตร์และการประกอบการจากในอดีต
- วิวัฒนาการทางด้านเทคโนโลยีทำให้สิ่งที่เป็นไปไม่ได้เกิดขึ้นได้
เช่น การสื่อสาร การคมนาคม ฯลฯ
- การคาดการเหตุการณ์ต่างๆ
ล่วงหน้ามีผลกับการประกอบอาชีพ รายได้ ของประชาชน
|
-
มนุษย์ใช้ทรัพยากรต่างๆ ของโลกในการดำรงชีวิต
-
สิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิตล้วนมีความเกื้อกูลกัน
-
สิ่งแวดล้อมจะมีการจัดการตัวเองใช้สามารถดำรงอยู่ได้
-
การสำรวจที่อยู่ใหม่ของมนุษย์ใช้ทรัพยากรโลก
-
มนุษย์เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม
ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่างๆ บนโลกเร็วขึ้น
-
เราใช้ทรัพยากรโลกโดยขาดการรู้เท่าทัน
ทำให้ทรัพยากรหมดไปอย่างรวดเร็ว
|
- ซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร
อดทน ใฝ่หาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ยอมรับผลที่เกิดจากการกระทำของตนเอง
- เคารพ
และอยู่ร่วมกันในสังคมแห่งความหลากหลายได้
- การจัดการความขัดแย้งและสร้างสันติวิธีในการอยู่ร่วมกัน
- มารยาทไทย (การแสดงความเคารพ การสนทนา การแต่งกาย
การมีสัมมาคารวะ)
- ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เสียสละ
และรับผิดชอบต่อสังคม
- ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม
และภูมิปัญญาไทย
|
ปฏิทินจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ PBL (Problem Based Learning)
หน่วย : วิวัฒนาการ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 Quarter 4 ภาคเรียนที่ 2 ประจำปีการศึกษา
2559
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
||||
1
|
โจทย์ : ออกแบบการเรียนรู้
- เรื่องที่อยากเรียนรู้
- วางแผนการเรียนรู้
คำถาม
- นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง
- นักเรียนจะตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้อย่างไรให้น่าสนใจ
- นักเรียนจะออกแบบปฏิทินการเรียนรู้อย่างไรให้น่าสนใจ
เครื่องมือคิด
- Think pair share
- Black board share
- Mind Mapping
- Show and Share
- Jigsaw
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
-
คลิปวีดีโอ “จะเกิดอะไรขึ้นกับโลกในอีก 500 ปีข้างหน้า กับ 15
หายนะที่ถูกคาดการณ์ไว้”
|
- นักเรียนดูคลิปวีดีโอ
“จะเกิดอะไรขึ้นกับโลกในอีก 500 ปีข้างหน้า กับ 15 หายนะที่ถูกคาดการณ์ไว้”
- นักเรียนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากคลิปวีดีโอ
- นักเรียนเขียนแผนผังครอบครัวของตนเอง (เหมือนหรือแตกต่างกับใคร)
- นักเรียนคาดเดา คน พืช สัตว์ มีวิวัฒนาการอย่างไรบ้าง?
- ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
- นักเรียนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่รู้แล้วและอยากเรียนรู้
- ออกแบบปฏิทินการเรียนรู้ Quarter
4
- เขียน Mind mapping ความรู้ก่อนเรียน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน :
- ร่วมกันตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้และออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
- คิด วิเคราะห์เกี่ยวกับวิวัฒนาการของคน พืช
และสัตว์
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
ชิ้นงาน :
- คาดเดาวิวัฒนาการคน พืช สัตว์
- แผนผังครอบครัวของตนเอง
- ชื่อหน่วยการเรียนรู้
- Mind Mapping (ก่อนเรียน)
- เขียนสิ่งที่รู้แล้วและอยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
สามารถออกแบบวางแผนกระบวนการเรียนรู้ ได้อย่างเหมาะสมและน่าสนใจ
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
|
||||
2
|
โจทย์ :
วิวัฒนาการของโลก เอกภพ
คำถาม
เอกภพก่อกำเนิดได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
- BAR
- DAR - AAR
- Show
and share
- Jigsaw
- ชักเย่อความคิด
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- รูปภาพเอกภพ
- Clip VDO การกำเนิดโลกและการกำเนิดดวงอาทิตย์
|
- นักเรียนดูรูปภาพต่อไปนี้
- นักเรียนแต่ละคนเขียนสิ่งที่รู้แล้วเกี่ยวกับโลกและเอกภพ
- ครูให้นักเรียนดู Clip
VDO การกำเนิดโลกและการกำเนิดดวงอาทิตย์
- นักเรียนแบ่งกลุ่มวิเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดู Clip
VDO การกำเนิดโลกและการกำเนิดดวงอาทิตย์
- นักเรียนประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
- ชักเย่อความคิด ถ้าไม่มีดวงอาทิตย์สิ่งมีชีวิตต่างๆ
จะดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างไร?
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์
(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและชั้นบรรยากาศนอกโลก)
- นักเรียนออกแบบกระบวนการเรียนรู้
และร่วมกันนำเสนอ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน
พร้อมนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ในทุกมิติ
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน :
- ร่วมกันดูรูปภาพโลกและเอกภพ
- คิด วิเคราะห์ สิ่งที่รู้แล้วเกี่ยวกับโลกและอนาคต
- ร่วมกันดู Clip VDO การกำเนิดโลกและการกำเนิดดวงอาทิตย์
- ประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
-
นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อกำเนิดโลกและวิวัฒนาการของโลก)
- ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอในทุกมิติ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน :
- เขียนสิ่งที่รู้แล้วเกี่ยวกับโลกและดวงอาทิตย์
- คำถามและประเด็นการออกแบบการเรียนรู้
-
กิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการกับการก่อกำเนิดโลกและวิวัฒนาการของโลก
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ในรูปแบบของตนเอง อาทิเช่น การ์ตูนช่อง,
บทความ, Mind Mapping,Clip VDO,Infographic เป็นต้น
|
ความรู้ ;
เข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อกำเนิดโลกและวิวัฒนาการของโลก
พร้อมทั้งสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจสิ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
|
||||
3
|
โจทย์ : วิวัฒนาการของโลกก่อกำเนิดโลก
คำถาม
ใครเป็นผู้สร้างโลก?
เครื่องมือคิด
- BAR
- DAR
- AAR
- Show
and share
-
Round Rubin
- Jigsaw
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- คลิปวีดิโอการล่มสลายของวิวัฒนาการ
- บรรยากาศในชั้นเรียน
|
- ครูและนักเรียนดูคลิป การล่มสลายของวิวัฒนาการ
- นักเรียนแบ่งกลุ่ม เพื่อศึกษาชุดข้อมูลคำถามต่อไปนี้
“โลกกำเนิดขึ้นได้อย่างไร”,
“พระเจ้าเป็นผู้สร้างโลกจริงหรือ
ถ้ามีพระองค์ทำอะไรบ้าง และตอนนี้อยู่ที่ไหน,
“สิ่งมีชีวิตเกิดมาจากบรรพบุรุษเดียวกันจริงหรือ,
ใครเป็นผู้สร้างมนุษย์”
- นักเรียนประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์
(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อกำเนิดโลกและวิวัฒนาการของโลก)
- นักเรียนออกแบบกระบวนการเรียนรู้
และร่วมกันนำเสนอ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน
พร้อมนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ในทุกมิติ
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ในรูปแบบของตนเอง อาทิเช่น การ์ตูนช่อง,
บทความ, Mind Mapping, Clip
VDO, Infographic เป็นต้น
|
ภาระงาน :
- ร่วมกันดูคลิป การล่มสลายของวิวัฒนาการ,
การกำเนิดโลกและการกำเนิดดวงอาทิตย์
- จับคู่ เพื่อศึกษาชุดข้อมูลคำถาม
- ประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
-
นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อกำเนิดโลกและวิวัฒนาการของโลก)
- ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอในทุกมิติ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน :
- คำถามและประเด็นการออกแบบการเรียนรู้
-
กิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการกับการก่อกำเนิดโลกและวิวัฒนาการของโลก
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ในรูปแบบของตนเอง อาทิเช่น การ์ตูนช่อง,
บทความ, Mind Mapping,Clip VDO,Infographic เป็นต้น
|
เข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อกำเนิดโลกและวิวัฒนาการของโลกพร้อมทั้งสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจสิ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
|
||||
4
|
โจทย์ :
วิวัฒนาการของโลก
- โครงสร้างของโลก
- ชั้นบรรยากาศของโลก
คำถาม
- ทำไมมนุษย์อาศัยอยู่บนเปลือกโลกได้?
- โลกมีลักษณะเป็นทรงกลมจริงหรือ?
- มนุษย์เดินทางออกไปนอกโลกได้อย่างไร?
- ทำไมเครื่องบินจึงไม่บินชนกัน?
เครื่องมือคิด
- BAR
- DAR - AAR
- Show
and share
- Jigsaw
- ชักเย่อความคิด
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
- ภาพยนตร์เรื่องThe martian
|
- นักเรียนคิดว่า โลกของเรามีลักษณะเหมือนอะไรบ้าง?
- นักเรียนแบ่งกลุ่มวิเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการชมภาพยนตร์
- นักเรียนประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์
(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและชั้นบรรยากาศของโลก)
- นักเรียนออกแบบกระบวนการเรียนรู้
และร่วมกันนำเสนอ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน
พร้อมนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ในทุกมิติ
- นักเรียนทำชั้นบรรยากาศของโลกในรูปแบบของตนเอง
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- ถ้านักเรียนต้องไปอยู่ดาวอังคารจะสร้างชั้นบรรยากาศอย่างไร?
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน :
- ร่วมกันดูภาพยนตร์เรื่องThe martian
- ประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์ (เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและชั้นบรรยากาศของโลก)
-ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอในทุกมิติ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน :
- ออกแบบโมเดลโลกและชั้นบรรยากาศของโลกในรูปแบบของตนเอง
- คำถามและประเด็นการออกแบบการเรียนรู้
-
กิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและชั้นบรรยากาศของโลก
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ ;
เข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและชั้นบรรยากาศของโลก
พร้อมทั้งสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจสิ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
|
||||
5
|
โจทย์ :
วิวัฒนาการของโลก
- ปรากฎการณ์ธรรมชาติ
- แนวโน้มของโลกในอนาคต
คำถาม
แนวโน้มการเกิดปรากฏการณ์ธรรมชาติในอนาคตอีกสิบปีจะเป็นอย่างไร
เครื่องมือคิด
- DAR - AAR
- Show
and share
- Jigsaw
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
- รูปภาพผลกระทบจากปรากฎการณ์ธรรมชาติต่างๆ ต่อไปนี้ อาทิเช่น
พายุสุริยะ, สึนามิ, ภูเขาไฟระเบิด,
สภาวะโลกร้อน ฯลฯ
|
- นักเรียนเขียนเชื่อมโยงสิ่งที่เกี่ยวข้องกับปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนคิดว่าในโลกของเราทั้งภายในและภายนอกเปลือกโลกนั้น
มีสิ่งใดบ้างที่เกิดการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
- นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาและอภิปรายร่วมกัน
- นักเรียนประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์
(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ)
- นักเรียนออกแบบกระบวนการเรียนรู้
และร่วมกันนำเสนอ
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- นักเรียนแบ่งกลุ่มอ่านบทความ
คำทำนายของหญิงตาบอด, นอสตราดามุส, พระพุทธเจ้า
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
- การเขียนเชื่อมโยงสิ่งที่เกี่ยวข้องกับปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ
- Flow Chart นำเสนอปัจจัจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของโลก
- กิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ |
|
||||
6
|
โจทย์ :
วิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต
ก่อกำเนิดสิ่งมีชีวิต
คำถาม
-
นักเรียนคิดว่าสิ่งมีชีวิตชนิดแรกที่กำเนิดขึ้นบนโลกมีลักษณะเป็นอย่างไร?
- สิ่งมีชีวิตที่หลายหลายในโลกนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร?
- นักเรียนคิดว่าไดโนเสาร์สูญพันธุ์ไปได้อย่างไร?
มนุษย์จะสูญพันธุ์ไปเหมือนในไดโนเสาร์ไหม?
เครื่องมือคิด
-
BAR
- DAR
- AAR
- Show
and share
- Jigsaw
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
|
- นักเรียนคิดว่าไดโนเสาร์สูญพันธุ์ไปได้อย่างไร?
- ครูและนักเรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนคิดว่าสิ่งมีชีวิตชนิดแรกที่กำเนิดขึ้นบนโลกมีลักษณะเป็นอย่างไร”
- นักเรียนวาดภาพลงในกระดาษ A4 และนำเสนอ
- นักเรียนประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์
(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อเกิดสิ่งมีชีวิตและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต)
- นักเรียนออกแบบกระบวนการเรียนรู้
และร่วมกันนำเสนอ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน
พร้อมนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ในทุกมิติ
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน :
- ร่วมกันแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น
- วาดภาพลักษณะสิ่งมีชีวิตชนิดแรกที่กำเนิดขึ้นบนโลก
-
นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อเกิดสิ่งมีชีวิตและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต)
- ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอในทุกมิติ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน :
- สมุดบันทึก
- คำถามและประเด็นการออกแบบการเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ ;
เข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อเกิดสิ่งมีชีวิตและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต
พร้อมทั้งสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจสิ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะICT
คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
|
||||
7
|
โจทย์ :
วิวัฒนาการของสู่สิ่งมีชีวิต
กระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติ
(การคัดเลือกโดยวิถีชีวิต และพันธุกรรม)
คำถาม
- สิ่งมีชีวิตสูญพันธุ์ได้อย่างไร?
- อะไรเป็นแนวโน้มให้มนุษย์สูญพันธุ์ได้?
เครื่องมือคิด
-
BAR
- DAR
- AAR
- Show
and share
- Jigsaw
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- Clip VDO “What is natural
selection?”
- บรรยากาศในชั้นเรียน
|
- นักเรียนประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์
(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อเกิดสิ่งมีชีวิตและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต)
- นักเรียนออกแบบกระบวนการเรียนรู้
และร่วมกันนำเสนอ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน
พร้อมนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ในทุกมิติ
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน :
- จับคู่เล่นเกม“Yes! No! Question?”
- ครูให้นักเรียนดู Clip
VDO“Evolution of plants
-
นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อเกิดสิ่งมีชีวิตและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต)
-ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอในทุกมิติ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน :
- สมุดบันทึก
- คำถามและประเด็นการออกแบบการเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ ;
เข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับกระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต
พร้อมทั้งสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจสิ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
|
||||
8
|
โจทย์ : วางแผนวิถีการดำเนินชีวิตที่สมดุลกับวิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงต่างๆ
ของโลก
คำถาม
นักเรียนวางแผนวิถีการดำเนินชีวิตที่สมดุลกับวิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงต่างๆ
ของโลก?
เครื่องมือคิด
- Round Robin
- Brainstorm
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
บรรยากาศในชั้นเรียน
|
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด “ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงใดบ้างที่มีผลต่อการดำรงชีวิตของเราในปัจจุบัน
(เทคโนโลยี เชื้อโรค ฯลฯ)
- นักเรียนประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์
(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการวางแผนวิถีการดำเนินชีวิตที่สมดุลกับวิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงต่างๆ
ของโลก)
- นักเรียนออกแบบกระบวนการเรียนรู้
และร่วมกันนำเสนอในรูปแบบคลิปวีดีโอ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน
พร้อมนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ในทุกมิติ
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
|
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
|
||||
9
|
โจทย์
: Review กิจกรรมออกแบบการเรียนรู้
คำถาม
- การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองที่มีเป้าหมายชัดเจนในแต่ละสัปดาห์ให้ผลเป็นอย่างไร
- จากรูปแบบกระบวนการเรียนรู้
ที่ผ่านมา
นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้างและอยากจะพัฒนาสิ่งใด
เครื่องมือคิด
- AAR
- Show and share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
บรรยากาศในชั้นเรียน
|
- ครูและนักเรียนร่วม AAR กิจกรรมออกแบบการเรียนรู้
ร่วมกัน
ตลอด 1 Quarter ที่ผ่านมา
- นักเรียนแบ่งกลุ่ม
สรุปประเด็นจาก AARและนำเสนอความเข้าใจ จาก 2 ประเด็น
** การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองที่มีเป้าหมายชัดเจนในแต่ละสัปดาห์ให้ผลเป็นอย่างไร
**จากรูปแบบกระบวนการเรียนรู้ หน่วยที่ผ่านมา
นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้างและอยากจะพัฒนาสิ่งใด
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
:
- ร่วม AAR กิจกรรมออกแบบการเรียนรู้ร่วมกันตลอด Quarter ที่ผ่านมา
- นักเรียนแบ่งกลุ่ม
สรุปประเด็นจาก AAR และนำเสนอความเข้าใจ จาก 2 ประเด็น
** การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองที่มีเป้าหมายชัดเจนในแต่ละสัปดาห์ให้ผลเป็นอย่างไร
**จากรูปแบบกระบวนการเรียนรู้ที่ผ่านมา
นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้างและอยากจะพัฒนาสิ่งใด
- อภิปรายร่วมกันและสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
:
- ชิ้นงานนำเสนอความคิดเห็นต่อประเด็นในวง AAR
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถนำเสนอความคิดเห็นมุมมองด้านข้อดีและข้อด้อยของกระบวนการเรียนรู้ที่ผ่านมาเพื่อนำไปพัฒนาต่อได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน - รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น - กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ - ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย |
||||
10
|
โจทย์ : สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
คำถาม - นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง?
- นักเรียนจะนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตได้อย่างไรบ้าง?
เครื่องมือคิด
- Blackboard Share - Round Rubin - Maid Mapping - Show share ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/ นักเรียน
สื่อ / อุปกรณ์
บรรยากาศในชั้นเรียน
|
- นักเรียนสรุปองค์ความรู้หลังเรียนในรูปแบบ Mind
Mapping
- ตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
/ประเมินตนเอง
-
จัดนิทรรศการเพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน :
- แลกเปลี่ยนสิ่งที่เรียนรู้ตลอดQuarter นี้
- จัดนิทรรศการเพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้หลังเรียนในรูปแบบMind
Mapping
ชิ้นงาน :
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
- นิทรรศการ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ :
เข้าใจและสามารถสรุปแก่นแท้ของการกระบวนการเรียนรู้เพื่อถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้ได้
ทักษะ ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกัน คุณลักษณะ: - รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น - กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ - ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย |
สัปดาห์
|
วิวัฒนาการ
|
ศิลปะ
|
|
1
|
โจทย์ : ออกแบบการเรียนรู้
|
-
เราแน่ใจได้อย่างไรว่าหลักฐานที่พบบ่งบอก วิวัฒนาการสิ่งต่างๆ
- วิวัฒนาการ-เรื่องจริงหรือนิยาย?
- เราบอกว่า ตัวเรา
มีวิวัฒนาการมาจากลิง แต่ทำไมลิงในปัจจุบันยังเป็นลิงอยู่?
- เป็นไปได้ไหมที่ความคล้ายกันของสิ่งมีชีวิตมีได้สืบสายมาจากบรรพบุรุษเดียวกัน
แต่เพราะมีบุคคลเดียวกันเป็นผู้ออกแบบ?
|
|
2
|
โจทย์ : วิวัฒนาการของโลก (เอกภพ)
|
-
เราเชื่อเรื่องมนุษย์ต่างดาวหรือเปล่า?
-
ดวงดาวบนท้องฟ้ามีอิทธิพลต่อชีวิตเราจริงหรือ ?
- เอกภพมีจุดสิ้นสุดหรือไม่
- เอกภพจะสูญสลายไปหรือไม่
- เราโคจรรอบดวงอาทิตย์จริงหรือ
และทำไมต้องโคจรเป็นวงรี?
|
|
3
|
โจทย์ : วิวัฒนาการของโลกก่อกำเนิดโลก
|
- พระเจ้าสร้างโลกมาจริงหรือไม่?
ใครสร้าง?
-
เราเชื่อทฤษฎีที่นักวิทยาศาสตร์อธิบายได้จริงหรือ?
- โลกเกิดก่อนหรือหลังดวงอาทิตย์?
- โลกของเรากลมจริงหรือ?
- เราเชื่อหรือไม่ว่าโลกเกิด เมื่อราว ๆ 4,560 ล้านปีที่แล้ว
|
|
4
|
โจทย์ : วิวัฒนาการของโลก
- โครงสร้างของโลก
- ชั้นบรรยากาศของโลก
|
- โลกมีแก่นจริงหรือ?
-
ด้านล่างเปลือกโลกร้อนมากทำไมไม่ไหม้เปลือกโลก?
- บรรยากาศโลกเกิดขึ้นได้อย่างไร?
-
ถ้าเราอยู่ได้ทุกบรรยากาศจะเป็นเช่นไร?
|
|
5
|
โจทย์ :
วิวัฒนาการของโลก
- ปรากฎการณ์ธรรมชาติ
- แนวโน้มของโลกในอนาคต
|
- พระเจ้าจะช่วยคนดีให้ปลอดภัยจากปรากฏการณ์ธรรมชาติจริงหรือไม่
- เทคโนโลยีจะทำให้อยู่รอดในอนาคตใช่หรือไม่
- ถ้านำท่วมโลกคนจะวิวัฒนาการหายใจทางเหงือกได้เหมือนปลาหรือไม่?
- เราจะชนะปรากฏการณ์ธรรมชาติได้?
|
|
6
|
โจทย์ :
วิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต
ก่อกำเนิดสิ่งมีชีวิต
|
-
สิงมีชีวิตกำเนิดจากพระเจ้าสร้างมา?
- บรรพบุรุษของทุกสิ่งเหมือนกัน?
-
เราเชื่อจริงหรือที่บอกว่าอวัยวะที่ไม่ได้ใช้จะค่อยหายไป?
-
อดัมกับอีวาเป็นมนุษย์สองคนแรกจริงหรือ?
- สิ่งมีชีวิตแรกของโลกเกิดขึ้นที่ไหน
แน่ใจได้อย่างไร ในเมื่อเหตุการณ์นี้เกิดมานานแล้ว?
|
|
7
|
โจทย์ :
วิวัฒนาการของสู่สิ่งมีชีวิต
กระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติ
(การคัดเลือกโดยวิถีชีวิต และพันธุกรรม)
|
- เราเชื่อว่าธรรมชาติเป็นผู้คัดเลือกจริงหรือ?
- พระเจ้ามีส่วนในการคัดเลือกหรือไม่?
-
ความหลากหลายทางธรรมชาติจะทำให้เกิดการสูญพันธ์ของสิ่งมีชีวิตบางอย่างหรือไม่?
|
|
8
|
โจทย์ :
วางแผนวิถีการดำเนินชีวิตที่สมดุลกับวิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ของโลก
|
- เชื่อหรือไม่
คนที่ศรัทธาในพระเจ้า เมื่อถึงเวลาพระเจ้าจะช่วยให้ปลอดภัยได้?
-
จริงหรือมนุษย์มีบุญกรรมเป็นของตนเอง หลีกเลี่ยงไม่ได้?
- การทำบุญ หรือ
คำสอนของพระเจ้าจะส่งผลให้เราพบกับความสุขที่แท้จริง
|
|
9-10
|
ทบทวนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
ทบทวนและตอบคำถาม
|
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์สาระการเรียนรู้กับมาตรฐานและตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย : “Happening before us/สุนทรียศิลป์”
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 Quarter 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
กิจกรรม
Active learning
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
||||||
ว22101
|
ส22101
|
ส22102
|
ง22101
|
พ22101
|
ศ22101
|
ส22101
|
|
- ออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
- ออกแบบนำเสนอการกำเนิดจักรวาลและโลก
- ออกแบบนำเสนอและทดลองทำศิลปะในยุคสมัยก่อน
- นำเสนอคลิปวีดีโอ พยากรณ์อากาศและดนตรี
- ออกแบบนำเสนอวิวัฒนาการในรูปแบบของศิลปะ
- นำเสนอนิทรรศการการเรียนรู้ตอลอด 1 Quarter ที่ผ่านมา
|
มาตรฐาน ว 2.2
-
วิเคราะห์สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากร ธรรมชาติ ในท้องถิ่น
และเสนอแนวทาง ในการ แก้ไขปัญหา
-
อธิบายแนวทางการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ
-
อภิปรายการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติอย่างยั่งยืน
-
วิเคราะห์และอธิบายการใช้ทรัพยากร
ธรรมชาติ
ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
-
อภิปรายปัญหาสิ่งแวดล้อมและเสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหา
(ว 2.2 ม3/1-6)
มาตรฐาน ว 3.2
สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของสารเคมี
ปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
(ว 3.2 ม2/3)
มาตรฐาน ว 5.1
อธิบายผลของความสว่างที่มีต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิต อื่น ๆ
(ว 5.1 ม2/2)
มาตรฐาน ว7.1
- สืบค้นและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างดวงอาทิตย์ โลก ดวงจันทร์และดาวเคราะห์อื่น ๆ
และผลที่เกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตบนโลก
- สืบค้นและอธิบายองค์ประกอบของเอกภพ กาแล็กซี และระบบสุริยะ
- ระบุตำแหน่งของกลุ่มดาว และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
(ว7.1 ม2/1-3)
มาตรฐาน ว 7.2
สืบค้นและอภิปรายความ
ก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศที่ใช้สำรวจอวกาศ วัตถุท้องฟ้า สภาวอากาศ ทรัพยากร ธรรมชาติ
การเกษตร และการสื่อสาร (ว 7.2 ม3/1)
มาตรฐาน ว 8.1
-
ตั้งคำถามที่กำหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบ
หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจได้อย่าง ครอบคลุ่มและเชื่อถือได้
- สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสำรวจตรวจสอบหลาย ๆ
วิธี
-
เลือกเทคนิควิธีการสำรวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัย
โดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม
- รวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ
-
วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุปทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับสมมติฐานและความผิดปกติของข้อมูลจากการสำรวจตรวจสอบ
- สร้างแบบจำลอง หรือรูปแบบ
ที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสำรวจตรวจสอบ
- สร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบ
ในเรื่องที่เกี่ยวข้องและนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด
กระบวนการและผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
- บันทึกและอธิบายผลการสังเกตการสำรวจ ตรวจสอบ
ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้
และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบ
เมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือโต้แย้งจากเดิม
- จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ
และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
(ว 8.1 ม2/1-9)
|
มาตรฐาน ส 1.2
วิเคราะห์ความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่ช่วยสร้างสรรค์
อารยธรรมและความสงบสุขแก่โลก (ส 1.1 ม3/1)
มาตรฐาน ส 1.2
- ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่าง ๆตามหลักศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด
- มีมรรยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดีตามทีกำหนด
- วิเคราะห์คุณค่าของ
ศาสนพิธี และปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
- อธิบายคำสอนที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญ
ทางศาสนาและปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
- อธิบายความแตกต่างของศาสนพิธีพิธีกรรม
ตามแนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆเพื่อนำไปสู่การยอมรับ และความเข้าใจซึ่งกันและกัน
(ส 1.2 ม2/1-5)
|
มาตรฐาน ส 4.1
- ประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่างๆ
- วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
- เห็นความสำคัญ
ของการตีความ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
ที่น่าเชื่อถือ
(ส 4.1 ม2/1-3)
มาตรฐาน ส 4.3
- วิเคราะห์พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา และธนบุรี
ในด้านต่างๆ
-. วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรอยุธยา
-.
ระบุภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรีและอิทธิพลของภูมิปัญญาดังกล่าวต่อการพัฒนาชาติไทยในยุคต่อมา
(ส 4.3 ม2/1-3)
|
มาตรฐาน ง 1.1
- ใช้ทักษะการแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงาน
-
ใช้ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน
- มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างประหยัดและคุ้มค่า
(ง 1.1 ม2/1-3)
มาตรฐาน
ง 2.1
- อธิบายกระบวนการเทคโนโลยี
- สร้างสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างปลอดภัย
-ออกแบบโดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง 3
มิติหรือภาพฉาย เพื่อนำไปสู่ การสร้างต้นแบบของสิ่งของเครื่องใช้ หรือถ่ายทอดความคิดของวิธีการเป็นแบบจำลองความคิดและ
การรายงานผลเพื่อนำเสนอวิธีการ
- มีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหา
หรือสนองความต้องการในงานที่ผลิตเอง
-. เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม สิ่งแวดล้อม และมีการจัดการเทคโนโลยี
ด้วยการลดการใช้ทรัพยากร
หรือเลือกใช้เทคโนโลยี ที่ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
(ง 2.1 ม2/1-5)
มาตรฐาน
ง 3.1
ใช้ซอฟต์แวร์ในการทำงาน (ง 3.1 ม2/4)
|
มาตรฐาน พ 1.1
- อธิบายการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ
อารมณ์ สังคม
และสติปัญญาในวัยรุ่น
- ระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต
และพัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจ
อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น
(พ 1.1 ม2/1-2)
|
มาตรฐาน ศ ๑.๑
- อภิปรายเกี่ยวกับทัศนธาตุในด้านรูปแบบและแนวคิดของงานทัศนศิลป์ที่เลือกมา
- บรรยายเกี่ยวกับความเหมือนและความแตกต่างของรูปแบบการใช้วัสดุอุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์ของศิลปิน
- วาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราวต่างๆ
- สร้างเกณฑ์ในการประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์
- นำผลการวิจารณ์ไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนางาน
-
วาดภาพแสดงบุคลิกลักษณะของตัวละคร
- บรรยายวิธีการใช้งานทัศนศิลป์ในการโฆษณา
เพื่อโน้มน้าวใจ และนำเสนอตัวอย่างประกอบ
(ศ 1.1 ม2/1-7)
มาตรฐาน ศ 1.2
- ระบุและบรรยายเกี่ยวกับวัฒนธรรม ต่าง ๆ
ที่สะท้อนถึงงานทัศนศิลป์ในปัจจุบัน
- บรรยายถึงการเปลี่ยนแปลงของงานทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัยโดยเน้นถึงแนวคิด
และเนื้อหาของงาน
- เปรียบเทียบแนวคิดในการออกแบบงานทัศนศิลป์ที่มาจาก วัฒนธรรมไทยและสากล
(ศ 1.2 ม2/1-3)
มาตรฐาน ศ 2.1
- เปรียบเทียบการใช้องค์
ประกอบดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่างกัน
- อ่าน เขียนร้องโน้ตไทยและโน้ต
สากลที่มีเครื่องหมายแปลงเสียง
-
ระบุปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี
- ร้องเพลง
และเล่นดนตรีเดี่ยว และรวมวง
- บรรยายอารมณ์ของเพลงและความรู้สึกที่มีต่อบทเพลงที่ฟัง
- ประเมิน
พัฒนาการทักษะทางดนตรีของตนเอง หลังจากการฝึกปฏิบัติ
-
ระบุงานอาชีพต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้องกับดนตรีและ
บทบาทของดนตรีในธุรกิจบันเทิงฝึกปฏิบัติ
(ศ 1.2 ม2/1-7)
มาตรฐาน ศ 2.2
- บรรยายบทบาท และอิทธิพลของดนตรีในวัฒนธรรมของประเทศต่าง ๆ
- บรรยายอิทธิพลของวัฒนธรรม
และเหตุการณ์
ในประวัติศาสตร์ที่มีต่อรูปแบบของดนตรีในประเทศไทย
(ศ 2.2 ม2/1-3)
มาตรฐาน ศ 3.1
- อธิบายการบูรณาการ
ศิลปะแขนงอื่น ๆ กับการแสดง
- สร้างสรรค์การแสดง
โดยใช้องค์ประกอบนาฏศิลป์และการละคร
- วิเคราะห์การแสดงของตนเองและผู้อื่น
โดยใช้นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครที่เหมาะสม
- เสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงการแสดง
- เชื่อมโยงการเรียนรู้
ระหว่างนาฏศิลป์และการละครกับสาระการเรียนรู้อื่น ๆ
(ศ 3.1 ม2/1-5)
มาตรฐาน ศ 3.2
- เปรียบเทียบลักษณะเฉพาะ
ของการแสดงนาฏศิลป์จากวัฒนธรรมต่างๆ
- ระบุหรือแสดงนาฏศิลป์นาฏศิลป์พื้นบ้าน ละครไทย ละครพื้นบ้าน
หรือมหรสพอื่นที่เคยนิยมกัน ในอดีต
- อธิบายอิทธิพลของวัฒนธรรมที่มีผลต่อเนื้อหาของละคร
(ศ 3.2 ม2/1-3)
|
จุดเน้น 3.1
มีส่วนร่มในการสร้าง
ปฏิบัติตามกฎระเบียบของโรงเรียน
(ส 3.1ม.2/6)
จุดเน้น 3.2
ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของห้องเรียนและโรงเรียน
(ส 3.2 ม.2/7)
จุดเน้น 4.2
วิเคราะห์ปัญหาความขัดแย้งในภูมิภาคของตนเองและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
(ส 4.2ม.2/9)
จุดเน้น 5
เป็นผู้มีวินัยในตนเอง
(ส 5 ม.2/10)
|