Mind Mapping
คำถามหลัก (Big
Questions) : การเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่างๆ
บนโลก ส่งผลต่อการดำรงชีวิตของเราอย่างไร?
ภูมิหลังของปัญหา :
กระแสโลกาภิวัตน์ และการเปลี่ยนแปลงของโลกเป็ นไปอย่างรวดเร็ว มนุษย์ต้องเผชิญกับการเปลี่ ยนแปลงที่หลากหลาย วิวั ฒนาการสมัยใหม่และความเจริญก้ าวหน้าเข้ามาสู่สังคมของมนุษย์ อย่างรวดเร็ว ตลอดจนความเจริญก้าวหน้าทางด้ านวิทยาศาสตร์ทำให้มนุษย์เข้ าใจเหตุการณ์ของสิ่งต่างๆที่เกิ ดขึ้นในอดีต ซึ่งส่งผลต่อการเปลี่ ยนแปลงของโลกในปัจจุบัน ทั้งด้ านความสะดวกสบายในการดำเนินชี วิต อาทิเช่น เครื่องทุนแรงที่ช่ วยในการประกอบอาชีพ และการคมนาคมต่างๆ อีกนัยหนึ่งอาจกล่าวถึ งผลกระทบที่ตามมาจากความก้าวหน้ าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อาทิ ปัญหาเทคโนโลยีที่สะดวกรวดเร็ว แต่กลับทำให้มนุษย์ขาดทักษะหลาย ด้าน เช่น การอยู่ร่วมกัน การสื่อสาร การจัดการความรู้ และทักษะการดำเนินชีวิต
ดังนั้นนักเรียนจึ งควรเรียนรู้ การเปลี่ยนแปลง วิวัฒนาการของสิ่งต่างๆ เพื่อให้เข้าใจสิ่งที่เราพบเห็ นในโลกปัจจุบัน ซึ่งมีความแตกต่างจากเดิมในอดีต และแน่นอนว่าจะสามารถวิเคราะห์ แนวโน้มเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้ นในอนาคตได้
เป้าหมายของความเข้าใจ (Understanding Goal) :
1. เพื่อศึกษาความหลากหลายของการกำเนิด และกระบวนการในการปรับตัวของสิ่งต่างๆ
รอบตัว คาดการณ์และเห็นแนวโน้มของสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้อย่างมีเหตุผล
2. เข้าใจและเห็นคุณค่าความสัมพันธ์ความหลายหลายของสิ่งต่างๆ และตัวเอง เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างมีเป้าหมายและมีคุณค่า
2. เข้าใจและเห็นคุณค่าความสัมพันธ์ความหลายหลายของสิ่งต่างๆ และตัวเอง เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างมีเป้าหมายและมีคุณค่า
ตารางความสัมพันธ์ Core Subject
หน่วย : Happening before us
ก่อนจะเป็นเรา
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 Quarter 4 ภาคเรียนที่ 2/2559
สุขภาพ
|
เศรษฐศาสตร์และการประกอบการ
|
สิ่งแวดล้อม
|
หน้าที่พลเมือง
|
-
วิวัฒนาการด้านการแพทย์ทำให้คนมีอายุยืนขึ้น
-
มนุษย์เรียนรู้จักการดูแลสุขภาพจากคนในสมัยก่อน
-
สิ่งมีชีวิตล้วนพัฒนาตนเองให้อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงได้
-
การเปลี่ยนแปลงของโลกมีผลต่ออายุของสิ่งมีชีวิต
-
อาหารสำเร็จรูป วิตามิน ยา ถูกผลิตขึ้นมา เพื่อดูแลสุขภาพให้ดีขึ้น
-
วิตามิน ยา อาหารเสริมบางอย่างร่างกายไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้
-
สารเคมีต่างๆ ส่งผลต่อสุขภาพ
|
- มนุษย์ใช้ความรู้ทางด้านวิวัฒนาการเป็นอาชีพหนึ่ง
- เราเรียนรู้เศรษฐศาสตร์และการประกอบการจากในอดีต
- วิวัฒนาการทางด้านเทคโนโลยีทำให้สิ่งที่เป็นไปไม่ได้เกิดขึ้นได้
เช่น การสื่อสาร การคมนาคม ฯลฯ
- การคาดการเหตุการณ์ต่างๆ
ล่วงหน้ามีผลกับการประกอบอาชีพ รายได้ ของประชาชน
|
-
มนุษย์ใช้ทรัพยากรต่างๆ ของโลกในการดำรงชีวิต
-
สิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิตล้วนมีความเกื้อกูลกัน
-
สิ่งแวดล้อมจะมีการจัดการตัวเองใช้สามารถดำรงอยู่ได้
-
การสำรวจที่อยู่ใหม่ของมนุษย์ใช้ทรัพยากรโลก
-
มนุษย์เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม
ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่างๆ บนโลกเร็วขึ้น
-
เราใช้ทรัพยากรโลกโดยขาดการรู้เท่าทัน
ทำให้ทรัพยากรหมดไปอย่างรวดเร็ว
|
- ซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร
อดทน ใฝ่หาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ยอมรับผลที่เกิดจากการกระทำของตนเอง
- เคารพ
และอยู่ร่วมกันในสังคมแห่งความหลากหลายได้
- การจัดการความขัดแย้งและสร้างสันติวิธีในการอยู่ร่วมกัน
- มารยาทไทย (การแสดงความเคารพ การสนทนา การแต่งกาย
การมีสัมมาคารวะ)
- ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เสียสละ
และรับผิดชอบต่อสังคม
- ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม
และภูมิปัญญาไทย
|
ปฏิทินจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ PBL (Problem Based Learning)
หน่วย : วิวัฒนาการ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 Quarter 4 ภาคเรียนที่ 2 ประจำปีการศึกษา
2559
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
||||
1
|
โจทย์ : ออกแบบการเรียนรู้
- เรื่องที่อยากเรียนรู้
- วางแผนการเรียนรู้
คำถาม
- นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง
- นักเรียนจะตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้อย่างไรให้น่าสนใจ
- นักเรียนจะออกแบบปฏิทินการเรียนรู้อย่างไรให้น่าสนใจ
เครื่องมือคิด
- Think pair share
- Black board share
- Mind Mapping
- Show and Share
- Jigsaw
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
-
คลิปวีดีโอ “จะเกิดอะไรขึ้นกับโลกในอีก 500 ปีข้างหน้า กับ 15
หายนะที่ถูกคาดการณ์ไว้”
|
- นักเรียนดูคลิปวีดีโอ
“จะเกิดอะไรขึ้นกับโลกในอีก 500 ปีข้างหน้า กับ 15 หายนะที่ถูกคาดการณ์ไว้”
- นักเรียนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากคลิปวีดีโอ
- นักเรียนเขียนแผนผังครอบครัวของตนเอง (เหมือนหรือแตกต่างกับใคร)
- นักเรียนคาดเดา คน พืช สัตว์ มีวิวัฒนาการอย่างไรบ้าง?
- ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
- นักเรียนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่รู้แล้วและอยากเรียนรู้
- ออกแบบปฏิทินการเรียนรู้ Quarter
4
- เขียน Mind mapping ความรู้ก่อนเรียน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน :
- ร่วมกันตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้และออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
- คิด วิเคราะห์เกี่ยวกับวิวัฒนาการของคน พืช
และสัตว์
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
ชิ้นงาน :
- คาดเดาวิวัฒนาการคน พืช สัตว์
- แผนผังครอบครัวของตนเอง
- ชื่อหน่วยการเรียนรู้
- Mind Mapping (ก่อนเรียน)
- เขียนสิ่งที่รู้แล้วและอยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
สามารถออกแบบวางแผนกระบวนการเรียนรู้ ได้อย่างเหมาะสมและน่าสนใจ
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
|
||||
2
|
โจทย์ :
วิวัฒนาการของโลก เอกภพ
คำถาม
เอกภพก่อกำเนิดได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
- BAR
- DAR - AAR
- Show
and share
- Jigsaw
- ชักเย่อความคิด
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- รูปภาพเอกภพ
- Clip VDO การกำเนิดโลกและการกำเนิดดวงอาทิตย์
|
- นักเรียนดูรูปภาพต่อไปนี้
- นักเรียนแต่ละคนเขียนสิ่งที่รู้แล้วเกี่ยวกับโลกและเอกภพ
- ครูให้นักเรียนดู Clip
VDO การกำเนิดโลกและการกำเนิดดวงอาทิตย์
- นักเรียนแบ่งกลุ่มวิเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดู Clip
VDO การกำเนิดโลกและการกำเนิดดวงอาทิตย์
- นักเรียนประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
- ชักเย่อความคิด ถ้าไม่มีดวงอาทิตย์สิ่งมีชีวิตต่างๆ
จะดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างไร?
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์
(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและชั้นบรรยากาศนอกโลก)
- นักเรียนออกแบบกระบวนการเรียนรู้
และร่วมกันนำเสนอ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน
พร้อมนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ในทุกมิติ
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน :
- ร่วมกันดูรูปภาพโลกและเอกภพ
- คิด วิเคราะห์ สิ่งที่รู้แล้วเกี่ยวกับโลกและอนาคต
- ร่วมกันดู Clip VDO การกำเนิดโลกและการกำเนิดดวงอาทิตย์
- ประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
-
นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อกำเนิดโลกและวิวัฒนาการของโลก)
- ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอในทุกมิติ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน :
- เขียนสิ่งที่รู้แล้วเกี่ยวกับโลกและดวงอาทิตย์
- คำถามและประเด็นการออกแบบการเรียนรู้
-
กิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการกับการก่อกำเนิดโลกและวิวัฒนาการของโลก
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ในรูปแบบของตนเอง อาทิเช่น การ์ตูนช่อง,
บทความ, Mind Mapping,Clip VDO,Infographic เป็นต้น
|
ความรู้ ;
เข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อกำเนิดโลกและวิวัฒนาการของโลก
พร้อมทั้งสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจสิ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
|
||||
3
|
โจทย์ : วิวัฒนาการของโลกก่อกำเนิดโลก
คำถาม
ใครเป็นผู้สร้างโลก?
เครื่องมือคิด
- BAR
- DAR
- AAR
- Show
and share
-
Round Rubin
- Jigsaw
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- คลิปวีดิโอการล่มสลายของวิวัฒนาการ
- บรรยากาศในชั้นเรียน
|
- ครูและนักเรียนดูคลิป การล่มสลายของวิวัฒนาการ
- นักเรียนแบ่งกลุ่ม เพื่อศึกษาชุดข้อมูลคำถามต่อไปนี้
“โลกกำเนิดขึ้นได้อย่างไร”,
“พระเจ้าเป็นผู้สร้างโลกจริงหรือ
ถ้ามีพระองค์ทำอะไรบ้าง และตอนนี้อยู่ที่ไหน,
“สิ่งมีชีวิตเกิดมาจากบรรพบุรุษเดียวกันจริงหรือ,
ใครเป็นผู้สร้างมนุษย์”
- นักเรียนประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์
(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อกำเนิดโลกและวิวัฒนาการของโลก)
- นักเรียนออกแบบกระบวนการเรียนรู้
และร่วมกันนำเสนอ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน
พร้อมนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ในทุกมิติ
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ในรูปแบบของตนเอง อาทิเช่น การ์ตูนช่อง,
บทความ, Mind Mapping, Clip
VDO, Infographic เป็นต้น
|
ภาระงาน :
- ร่วมกันดูคลิป การล่มสลายของวิวัฒนาการ,
การกำเนิดโลกและการกำเนิดดวงอาทิตย์
- จับคู่ เพื่อศึกษาชุดข้อมูลคำถาม
- ประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
-
นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อกำเนิดโลกและวิวัฒนาการของโลก)
- ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอในทุกมิติ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน :
- คำถามและประเด็นการออกแบบการเรียนรู้
-
กิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการกับการก่อกำเนิดโลกและวิวัฒนาการของโลก
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ในรูปแบบของตนเอง อาทิเช่น การ์ตูนช่อง,
บทความ, Mind Mapping,Clip VDO,Infographic เป็นต้น
|
เข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อกำเนิดโลกและวิวัฒนาการของโลกพร้อมทั้งสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจสิ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
|
||||
4
|
โจทย์ :
วิวัฒนาการของโลก
- โครงสร้างของโลก
- ชั้นบรรยากาศของโลก
คำถาม
- ทำไมมนุษย์อาศัยอยู่บนเปลือกโลกได้?
- โลกมีลักษณะเป็นทรงกลมจริงหรือ?
- มนุษย์เดินทางออกไปนอกโลกได้อย่างไร?
- ทำไมเครื่องบินจึงไม่บินชนกัน?
เครื่องมือคิด
- BAR
- DAR - AAR
- Show
and share
- Jigsaw
- ชักเย่อความคิด
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
- ภาพยนตร์เรื่องThe martian
|
- นักเรียนคิดว่า โลกของเรามีลักษณะเหมือนอะไรบ้าง?
- นักเรียนแบ่งกลุ่มวิเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการชมภาพยนตร์
- นักเรียนประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์
(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและชั้นบรรยากาศของโลก)
- นักเรียนออกแบบกระบวนการเรียนรู้
และร่วมกันนำเสนอ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน
พร้อมนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ในทุกมิติ
- นักเรียนทำชั้นบรรยากาศของโลกในรูปแบบของตนเอง
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- ถ้านักเรียนต้องไปอยู่ดาวอังคารจะสร้างชั้นบรรยากาศอย่างไร?
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน :
- ร่วมกันดูภาพยนตร์เรื่องThe martian
- ประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์ (เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและชั้นบรรยากาศของโลก)
-ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอในทุกมิติ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน :
- ออกแบบโมเดลโลกและชั้นบรรยากาศของโลกในรูปแบบของตนเอง
- คำถามและประเด็นการออกแบบการเรียนรู้
-
กิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและชั้นบรรยากาศของโลก
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ ;
เข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและชั้นบรรยากาศของโลก
พร้อมทั้งสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจสิ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
|
||||
5
|
โจทย์ :
วิวัฒนาการของโลก
- ปรากฎการณ์ธรรมชาติ
- แนวโน้มของโลกในอนาคต
คำถาม
แนวโน้มการเกิดปรากฏการณ์ธรรมชาติในอนาคตอีกสิบปีจะเป็นอย่างไร
เครื่องมือคิด
- DAR - AAR
- Show
and share
- Jigsaw
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
- รูปภาพผลกระทบจากปรากฎการณ์ธรรมชาติต่างๆ ต่อไปนี้ อาทิเช่น
พายุสุริยะ, สึนามิ, ภูเขาไฟระเบิด,
สภาวะโลกร้อน ฯลฯ
|
- นักเรียนเขียนเชื่อมโยงสิ่งที่เกี่ยวข้องกับปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนคิดว่าในโลกของเราทั้งภายในและภายนอกเปลือกโลกนั้น
มีสิ่งใดบ้างที่เกิดการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
- นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาและอภิปรายร่วมกัน
- นักเรียนประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์
(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ)
- นักเรียนออกแบบกระบวนการเรียนรู้
และร่วมกันนำเสนอ
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- นักเรียนแบ่งกลุ่มอ่านบทความ
คำทำนายของหญิงตาบอด, นอสตราดามุส, พระพุทธเจ้า
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
- การเขียนเชื่อมโยงสิ่งที่เกี่ยวข้องกับปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ
- Flow Chart นำเสนอปัจจัจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของโลก
- กิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ |
|
||||
6
|
โจทย์ :
วิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต
ก่อกำเนิดสิ่งมีชีวิต
คำถาม
-
นักเรียนคิดว่าสิ่งมีชีวิตชนิดแรกที่กำเนิดขึ้นบนโลกมีลักษณะเป็นอย่างไร?
- สิ่งมีชีวิตที่หลายหลายในโลกนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร?
- นักเรียนคิดว่าไดโนเสาร์สูญพันธุ์ไปได้อย่างไร?
มนุษย์จะสูญพันธุ์ไปเหมือนในไดโนเสาร์ไหม?
เครื่องมือคิด
-
BAR
- DAR
- AAR
- Show
and share
- Jigsaw
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
|
- นักเรียนคิดว่าไดโนเสาร์สูญพันธุ์ไปได้อย่างไร?
- ครูและนักเรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนคิดว่าสิ่งมีชีวิตชนิดแรกที่กำเนิดขึ้นบนโลกมีลักษณะเป็นอย่างไร”
- นักเรียนวาดภาพลงในกระดาษ A4 และนำเสนอ
- นักเรียนประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์
(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อเกิดสิ่งมีชีวิตและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต)
- นักเรียนออกแบบกระบวนการเรียนรู้
และร่วมกันนำเสนอ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน
พร้อมนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ในทุกมิติ
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน :
- ร่วมกันแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น
- วาดภาพลักษณะสิ่งมีชีวิตชนิดแรกที่กำเนิดขึ้นบนโลก
-
นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อเกิดสิ่งมีชีวิตและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต)
- ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอในทุกมิติ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน :
- สมุดบันทึก
- คำถามและประเด็นการออกแบบการเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ ;
เข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อเกิดสิ่งมีชีวิตและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต
พร้อมทั้งสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจสิ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะICT
คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
|
||||
7
|
โจทย์ :
วิวัฒนาการของสู่สิ่งมีชีวิต
กระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติ
(การคัดเลือกโดยวิถีชีวิต และพันธุกรรม)
คำถาม
- สิ่งมีชีวิตสูญพันธุ์ได้อย่างไร?
- อะไรเป็นแนวโน้มให้มนุษย์สูญพันธุ์ได้?
เครื่องมือคิด
-
BAR
- DAR
- AAR
- Show
and share
- Jigsaw
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- Clip VDO “What is natural
selection?”
- บรรยากาศในชั้นเรียน
|
- นักเรียนประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์
(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อเกิดสิ่งมีชีวิตและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต)
- นักเรียนออกแบบกระบวนการเรียนรู้
และร่วมกันนำเสนอ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน
พร้อมนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ในทุกมิติ
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน :
- จับคู่เล่นเกม“Yes! No! Question?”
- ครูให้นักเรียนดู Clip
VDO“Evolution of plants
-
นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อเกิดสิ่งมีชีวิตและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต)
-ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอในทุกมิติ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน :
- สมุดบันทึก
- คำถามและประเด็นการออกแบบการเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ ;
เข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับกระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต
พร้อมทั้งสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจสิ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
|
||||
8
|
โจทย์ : วางแผนวิถีการดำเนินชีวิตที่สมดุลกับวิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงต่างๆ
ของโลก
คำถาม
นักเรียนวางแผนวิถีการดำเนินชีวิตที่สมดุลกับวิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงต่างๆ
ของโลก?
เครื่องมือคิด
- Round Robin
- Brainstorm
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
บรรยากาศในชั้นเรียน
|
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด “ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงใดบ้างที่มีผลต่อการดำรงชีวิตของเราในปัจจุบัน
(เทคโนโลยี เชื้อโรค ฯลฯ)
- นักเรียนประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์
(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการวางแผนวิถีการดำเนินชีวิตที่สมดุลกับวิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงต่างๆ
ของโลก)
- นักเรียนออกแบบกระบวนการเรียนรู้
และร่วมกันนำเสนอในรูปแบบคลิปวีดีโอ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน
พร้อมนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ในทุกมิติ
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
|
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
|
||||
9
|
โจทย์
: Review กิจกรรมออกแบบการเรียนรู้
คำถาม
- การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองที่มีเป้าหมายชัดเจนในแต่ละสัปดาห์ให้ผลเป็นอย่างไร
- จากรูปแบบกระบวนการเรียนรู้
ที่ผ่านมา
นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้างและอยากจะพัฒนาสิ่งใด
เครื่องมือคิด
- AAR
- Show and share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
บรรยากาศในชั้นเรียน
|
- ครูและนักเรียนร่วม AAR กิจกรรมออกแบบการเรียนรู้
ร่วมกัน
ตลอด 1 Quarter ที่ผ่านมา
- นักเรียนแบ่งกลุ่ม
สรุปประเด็นจาก AARและนำเสนอความเข้าใจ จาก 2 ประเด็น
** การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองที่มีเป้าหมายชัดเจนในแต่ละสัปดาห์ให้ผลเป็นอย่างไร
**จากรูปแบบกระบวนการเรียนรู้ หน่วยที่ผ่านมา
นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้างและอยากจะพัฒนาสิ่งใด
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
:
- ร่วม AAR กิจกรรมออกแบบการเรียนรู้ร่วมกันตลอด Quarter ที่ผ่านมา
- นักเรียนแบ่งกลุ่ม
สรุปประเด็นจาก AAR และนำเสนอความเข้าใจ จาก 2 ประเด็น
** การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองที่มีเป้าหมายชัดเจนในแต่ละสัปดาห์ให้ผลเป็นอย่างไร
**จากรูปแบบกระบวนการเรียนรู้ที่ผ่านมา
นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้างและอยากจะพัฒนาสิ่งใด
- อภิปรายร่วมกันและสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
:
- ชิ้นงานนำเสนอความคิดเห็นต่อประเด็นในวง AAR
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถนำเสนอความคิดเห็นมุมมองด้านข้อดีและข้อด้อยของกระบวนการเรียนรู้ที่ผ่านมาเพื่อนำไปพัฒนาต่อได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน - รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น - กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ - ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย |
||||
10
|
โจทย์ : สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
คำถาม - นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง?
- นักเรียนจะนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตได้อย่างไรบ้าง?
เครื่องมือคิด
- Blackboard Share - Round Rubin - Maid Mapping - Show share ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/ นักเรียน
สื่อ / อุปกรณ์
บรรยากาศในชั้นเรียน
|
- นักเรียนสรุปองค์ความรู้หลังเรียนในรูปแบบ Mind
Mapping
- ตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
/ประเมินตนเอง
-
จัดนิทรรศการเพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน :
- แลกเปลี่ยนสิ่งที่เรียนรู้ตลอดQuarter นี้
- จัดนิทรรศการเพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้หลังเรียนในรูปแบบMind
Mapping
ชิ้นงาน :
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
- นิทรรศการ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ :
เข้าใจและสามารถสรุปแก่นแท้ของการกระบวนการเรียนรู้เพื่อถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้ได้
ทักษะ ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกัน คุณลักษณะ: - รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น - กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ - ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย |
สัปดาห์
|
วิวัฒนาการ
|
ศิลปะ
|
|
1
|
โจทย์ : ออกแบบการเรียนรู้
|
-
เราแน่ใจได้อย่างไรว่าหลักฐานที่พบบ่งบอก วิวัฒนาการสิ่งต่างๆ
- วิวัฒนาการ-เรื่องจริงหรือนิยาย?
- เราบอกว่า ตัวเรา
มีวิวัฒนาการมาจากลิง แต่ทำไมลิงในปัจจุบันยังเป็นลิงอยู่?
- เป็นไปได้ไหมที่ความคล้ายกันของสิ่งมีชีวิตมีได้สืบสายมาจากบรรพบุรุษเดียวกัน
แต่เพราะมีบุคคลเดียวกันเป็นผู้ออกแบบ?
|
|
2
|
โจทย์ : วิวัฒนาการของโลก (เอกภพ)
|
-
เราเชื่อเรื่องมนุษย์ต่างดาวหรือเปล่า?
-
ดวงดาวบนท้องฟ้ามีอิทธิพลต่อชีวิตเราจริงหรือ ?
- เอกภพมีจุดสิ้นสุดหรือไม่
- เอกภพจะสูญสลายไปหรือไม่
- เราโคจรรอบดวงอาทิตย์จริงหรือ
และทำไมต้องโคจรเป็นวงรี?
|
|
3
|
โจทย์ : วิวัฒนาการของโลกก่อกำเนิดโลก
|
- พระเจ้าสร้างโลกมาจริงหรือไม่?
ใครสร้าง?
-
เราเชื่อทฤษฎีที่นักวิทยาศาสตร์อธิบายได้จริงหรือ?
- โลกเกิดก่อนหรือหลังดวงอาทิตย์?
- โลกของเรากลมจริงหรือ?
- เราเชื่อหรือไม่ว่าโลกเกิด เมื่อราว ๆ 4,560 ล้านปีที่แล้ว
|
|
4
|
โจทย์ : วิวัฒนาการของโลก
- โครงสร้างของโลก
- ชั้นบรรยากาศของโลก
|
- โลกมีแก่นจริงหรือ?
-
ด้านล่างเปลือกโลกร้อนมากทำไมไม่ไหม้เปลือกโลก?
- บรรยากาศโลกเกิดขึ้นได้อย่างไร?
-
ถ้าเราอยู่ได้ทุกบรรยากาศจะเป็นเช่นไร?
|
|
5
|
โจทย์ :
วิวัฒนาการของโลก
- ปรากฎการณ์ธรรมชาติ
- แนวโน้มของโลกในอนาคต
|
- พระเจ้าจะช่วยคนดีให้ปลอดภัยจากปรากฏการณ์ธรรมชาติจริงหรือไม่
- เทคโนโลยีจะทำให้อยู่รอดในอนาคตใช่หรือไม่
- ถ้านำท่วมโลกคนจะวิวัฒนาการหายใจทางเหงือกได้เหมือนปลาหรือไม่?
- เราจะชนะปรากฏการณ์ธรรมชาติได้?
|
|
6
|
โจทย์ :
วิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต
ก่อกำเนิดสิ่งมีชีวิต
|
-
สิงมีชีวิตกำเนิดจากพระเจ้าสร้างมา?
- บรรพบุรุษของทุกสิ่งเหมือนกัน?
-
เราเชื่อจริงหรือที่บอกว่าอวัยวะที่ไม่ได้ใช้จะค่อยหายไป?
-
อดัมกับอีวาเป็นมนุษย์สองคนแรกจริงหรือ?
- สิ่งมีชีวิตแรกของโลกเกิดขึ้นที่ไหน
แน่ใจได้อย่างไร ในเมื่อเหตุการณ์นี้เกิดมานานแล้ว?
|
|
7
|
โจทย์ :
วิวัฒนาการของสู่สิ่งมีชีวิต
กระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติ
(การคัดเลือกโดยวิถีชีวิต และพันธุกรรม)
|
- เราเชื่อว่าธรรมชาติเป็นผู้คัดเลือกจริงหรือ?
- พระเจ้ามีส่วนในการคัดเลือกหรือไม่?
-
ความหลากหลายทางธรรมชาติจะทำให้เกิดการสูญพันธ์ของสิ่งมีชีวิตบางอย่างหรือไม่?
|
|
8
|
โจทย์ :
วางแผนวิถีการดำเนินชีวิตที่สมดุลกับวิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ของโลก
|
- เชื่อหรือไม่
คนที่ศรัทธาในพระเจ้า เมื่อถึงเวลาพระเจ้าจะช่วยให้ปลอดภัยได้?
-
จริงหรือมนุษย์มีบุญกรรมเป็นของตนเอง หลีกเลี่ยงไม่ได้?
- การทำบุญ หรือ
คำสอนของพระเจ้าจะส่งผลให้เราพบกับความสุขที่แท้จริง
|
|
9-10
|
ทบทวนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
ทบทวนและตอบคำถาม
|
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์สาระการเรียนรู้กับมาตรฐานและตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย : “Happening before us/สุนทรียศิลป์”
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 Quarter 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
กิจกรรม
Active learning
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
||||||
ว22101
|
ส22101
|
ส22102
|
ง22101
|
พ22101
|
ศ22101
|
ส22101
|
|
- ออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
- ออกแบบนำเสนอการกำเนิดจักรวาลและโลก
- ออกแบบนำเสนอและทดลองทำศิลปะในยุคสมัยก่อน
- นำเสนอคลิปวีดีโอ พยากรณ์อากาศและดนตรี
- ออกแบบนำเสนอวิวัฒนาการในรูปแบบของศิลปะ
- นำเสนอนิทรรศการการเรียนรู้ตอลอด 1 Quarter ที่ผ่านมา
|
มาตรฐาน ว 2.2
-
วิเคราะห์สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากร ธรรมชาติ ในท้องถิ่น
และเสนอแนวทาง ในการ แก้ไขปัญหา
-
อธิบายแนวทางการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ
-
อภิปรายการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติอย่างยั่งยืน
-
วิเคราะห์และอธิบายการใช้ทรัพยากร
ธรรมชาติ
ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
-
อภิปรายปัญหาสิ่งแวดล้อมและเสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหา
(ว 2.2 ม3/1-6)
มาตรฐาน ว 3.2
สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของสารเคมี
ปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
(ว 3.2 ม2/3)
มาตรฐาน ว 5.1
อธิบายผลของความสว่างที่มีต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิต อื่น ๆ
(ว 5.1 ม2/2)
มาตรฐาน ว7.1
- สืบค้นและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างดวงอาทิตย์ โลก ดวงจันทร์และดาวเคราะห์อื่น ๆ
และผลที่เกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตบนโลก
- สืบค้นและอธิบายองค์ประกอบของเอกภพ กาแล็กซี และระบบสุริยะ
- ระบุตำแหน่งของกลุ่มดาว และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
(ว7.1 ม2/1-3)
มาตรฐาน ว 7.2
สืบค้นและอภิปรายความ
ก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศที่ใช้สำรวจอวกาศ วัตถุท้องฟ้า สภาวอากาศ ทรัพยากร ธรรมชาติ
การเกษตร และการสื่อสาร (ว 7.2 ม3/1)
มาตรฐาน ว 8.1
-
ตั้งคำถามที่กำหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบ
หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจได้อย่าง ครอบคลุ่มและเชื่อถือได้
- สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสำรวจตรวจสอบหลาย ๆ
วิธี
-
เลือกเทคนิควิธีการสำรวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัย
โดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม
- รวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ
-
วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุปทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับสมมติฐานและความผิดปกติของข้อมูลจากการสำรวจตรวจสอบ
- สร้างแบบจำลอง หรือรูปแบบ
ที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสำรวจตรวจสอบ
- สร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบ
ในเรื่องที่เกี่ยวข้องและนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด
กระบวนการและผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
- บันทึกและอธิบายผลการสังเกตการสำรวจ ตรวจสอบ
ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้
และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบ
เมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือโต้แย้งจากเดิม
- จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ
และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
(ว 8.1 ม2/1-9)
|
มาตรฐาน ส 1.2
วิเคราะห์ความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่ช่วยสร้างสรรค์
อารยธรรมและความสงบสุขแก่โลก (ส 1.1 ม3/1)
มาตรฐาน ส 1.2
- ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่าง ๆตามหลักศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด
- มีมรรยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดีตามทีกำหนด
- วิเคราะห์คุณค่าของ
ศาสนพิธี และปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
- อธิบายคำสอนที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญ
ทางศาสนาและปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
- อธิบายความแตกต่างของศาสนพิธีพิธีกรรม
ตามแนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆเพื่อนำไปสู่การยอมรับ และความเข้าใจซึ่งกันและกัน
(ส 1.2 ม2/1-5)
|
มาตรฐาน ส 4.1
- ประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่างๆ
- วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
- เห็นความสำคัญ
ของการตีความ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
ที่น่าเชื่อถือ
(ส 4.1 ม2/1-3)
มาตรฐาน ส 4.3
- วิเคราะห์พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา และธนบุรี
ในด้านต่างๆ
-. วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรอยุธยา
-.
ระบุภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรีและอิทธิพลของภูมิปัญญาดังกล่าวต่อการพัฒนาชาติไทยในยุคต่อมา
(ส 4.3 ม2/1-3)
|
มาตรฐาน ง 1.1
- ใช้ทักษะการแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงาน
-
ใช้ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน
- มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างประหยัดและคุ้มค่า
(ง 1.1 ม2/1-3)
มาตรฐาน
ง 2.1
- อธิบายกระบวนการเทคโนโลยี
- สร้างสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างปลอดภัย
-ออกแบบโดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง 3
มิติหรือภาพฉาย เพื่อนำไปสู่ การสร้างต้นแบบของสิ่งของเครื่องใช้ หรือถ่ายทอดความคิดของวิธีการเป็นแบบจำลองความคิดและ
การรายงานผลเพื่อนำเสนอวิธีการ
- มีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหา
หรือสนองความต้องการในงานที่ผลิตเอง
-. เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม สิ่งแวดล้อม และมีการจัดการเทคโนโลยี
ด้วยการลดการใช้ทรัพยากร
หรือเลือกใช้เทคโนโลยี ที่ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
(ง 2.1 ม2/1-5)
มาตรฐาน
ง 3.1
ใช้ซอฟต์แวร์ในการทำงาน (ง 3.1 ม2/4)
|
มาตรฐาน พ 1.1
- อธิบายการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ
อารมณ์ สังคม
และสติปัญญาในวัยรุ่น
- ระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต
และพัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจ
อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น
(พ 1.1 ม2/1-2)
|
มาตรฐาน ศ ๑.๑
- อภิปรายเกี่ยวกับทัศนธาตุในด้านรูปแบบและแนวคิดของงานทัศนศิลป์ที่เลือกมา
- บรรยายเกี่ยวกับความเหมือนและความแตกต่างของรูปแบบการใช้วัสดุอุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์ของศิลปิน
- วาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราวต่างๆ
- สร้างเกณฑ์ในการประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์
- นำผลการวิจารณ์ไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนางาน
-
วาดภาพแสดงบุคลิกลักษณะของตัวละคร
- บรรยายวิธีการใช้งานทัศนศิลป์ในการโฆษณา
เพื่อโน้มน้าวใจ และนำเสนอตัวอย่างประกอบ
(ศ 1.1 ม2/1-7)
มาตรฐาน ศ 1.2
- ระบุและบรรยายเกี่ยวกับวัฒนธรรม ต่าง ๆ
ที่สะท้อนถึงงานทัศนศิลป์ในปัจจุบัน
- บรรยายถึงการเปลี่ยนแปลงของงานทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัยโดยเน้นถึงแนวคิด
และเนื้อหาของงาน
- เปรียบเทียบแนวคิดในการออกแบบงานทัศนศิลป์ที่มาจาก วัฒนธรรมไทยและสากล
(ศ 1.2 ม2/1-3)
มาตรฐาน ศ 2.1
- เปรียบเทียบการใช้องค์
ประกอบดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่างกัน
- อ่าน เขียนร้องโน้ตไทยและโน้ต
สากลที่มีเครื่องหมายแปลงเสียง
-
ระบุปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี
- ร้องเพลง
และเล่นดนตรีเดี่ยว และรวมวง
- บรรยายอารมณ์ของเพลงและความรู้สึกที่มีต่อบทเพลงที่ฟัง
- ประเมิน
พัฒนาการทักษะทางดนตรีของตนเอง หลังจากการฝึกปฏิบัติ
-
ระบุงานอาชีพต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้องกับดนตรีและ
บทบาทของดนตรีในธุรกิจบันเทิงฝึกปฏิบัติ
(ศ 1.2 ม2/1-7)
มาตรฐาน ศ 2.2
- บรรยายบทบาท และอิทธิพลของดนตรีในวัฒนธรรมของประเทศต่าง ๆ
- บรรยายอิทธิพลของวัฒนธรรม
และเหตุการณ์
ในประวัติศาสตร์ที่มีต่อรูปแบบของดนตรีในประเทศไทย
(ศ 2.2 ม2/1-3)
มาตรฐาน ศ 3.1
- อธิบายการบูรณาการ
ศิลปะแขนงอื่น ๆ กับการแสดง
- สร้างสรรค์การแสดง
โดยใช้องค์ประกอบนาฏศิลป์และการละคร
- วิเคราะห์การแสดงของตนเองและผู้อื่น
โดยใช้นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครที่เหมาะสม
- เสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงการแสดง
- เชื่อมโยงการเรียนรู้
ระหว่างนาฏศิลป์และการละครกับสาระการเรียนรู้อื่น ๆ
(ศ 3.1 ม2/1-5)
มาตรฐาน ศ 3.2
- เปรียบเทียบลักษณะเฉพาะ
ของการแสดงนาฏศิลป์จากวัฒนธรรมต่างๆ
- ระบุหรือแสดงนาฏศิลป์นาฏศิลป์พื้นบ้าน ละครไทย ละครพื้นบ้าน
หรือมหรสพอื่นที่เคยนิยมกัน ในอดีต
- อธิบายอิทธิพลของวัฒนธรรมที่มีผลต่อเนื้อหาของละคร
(ศ 3.2 ม2/1-3)
|
จุดเน้น 3.1
มีส่วนร่มในการสร้าง
ปฏิบัติตามกฎระเบียบของโรงเรียน
(ส 3.1ม.2/6)
จุดเน้น 3.2
ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของห้องเรียนและโรงเรียน
(ส 3.2 ม.2/7)
จุดเน้น 4.2
วิเคราะห์ปัญหาความขัดแย้งในภูมิภาคของตนเองและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
(ส 4.2ม.2/9)
จุดเน้น 5
เป็นผู้มีวินัยในตนเอง
(ส 5 ม.2/10)
|